It's me

ภาพถ่ายของฉัน
RedAngel
Bangkok, Bangkok, Thailand
Low profile, High profit.
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน

Visitor

My Time

A Waste Management Solution Like None Other

เขียนโดย RedAngel ที่ 19:51

11.3.52



Dharavi - Asia's largest and the world's second largest slum - is the first impression one gets of Mumbai (erstwhile Bombay), while landing at the Chatrapati Shivaji International Airport. Hundreds of thousands of shanties with tin or asbestos sheets for roofs and blue or red plastic walls make for a shabby looking abstract painting on a canvas spread over many square kilometers. But like most abstract paintings, there is more to Dharavi than meets the eye. Dharavi, "slum" that it is, is also one of the most unregulated, but effective climate solutions documented on the Climate Solutions Road Tour ("CSRT").


Dharavi houses numerous paper and plastic recycling units, recycling tons of waste generated by Mumbai, which would otherwise have either found its way into the Arabian Sea or choked the already crumbling sewage system of the city. It is interesting to note that not only does this industry recycle waste, but also acts as an agent of poverty alleviation by providing employment at various levels.


Thousands of otherwise marginalized individuals, scavengers, scour through the tonnes of rubbish everyday, collecting recyclables and transporting them to segregators. The segregators pay Rs. 8 (50 cents approximately) per kilo of recyclable rubbish collected by the scavengers. The segregators, in turn, transport segregated waste to the appropriate recycling factory.


While the current scenario is not in the least humane, there have been instances of the scavengers' children making it through school and wearing a white collar. However, such instances are rare. One feels that effective government regulation and entrepreneurship are the need of the hour to take this climate solution to the next level.



พบวิธีกำจัดขยะให้กลับมีค่าได้เหมือนทอง สร้างถนนด้วยถุงพลาสติก


นักวิจัยมหาวิทยาลัยฮินดู พาราณสี พบวิธีกำจัดถุงพลาสติก ที่กำลังเป็นขยะเกลื่อนกลาดอยู่ตามหลายชาติในขณะนี้ ให้เป็นประโยชน์มากที่สุด ด้วยการนำไปใช้ทำถนนที่ทนแดดทนน้ำและคงทนถาวร

ศาสตราจารย์วิชาเคมีของมหาวิทยาลัย อาจารย์ราม อัดหาร์ สิงห์ กล่าวว่า เราสังเกตพบในการวิจัยว่า ถุงพลาสติกจะช่วยสร้างความคงทนให้กับถนนได้อย่างมหาศาล โดยกำลังจะไปขอจดสิทธิบัตรไว้อยู่

“ในการวิจัย เรานำเอาถุงพลาสติกคลุกกับน้ำมันดินแล้วไปทำให้ร้อนด้วยเครื่อง แล้วจึงนำไปผสมกับเศษหินและวัสดุอื่น สำหรับการสร้างถนน ปรากฏว่าได้ผลดี”

เท่าที่เคยก่อสร้างกันมา ถนนที่สร้างด้วยน้ำมันดินและหินจะทรุดลงเร็วเมื่อโดนน้ำเข้าไปขัง เนื่องจากน้ำมันดินเป็นอินทรีย์สาร ไม่อาจจะเข้ากับหินซึ่งเป็นอนินทรีย์สารได้ดี พอถูกน้ำขังก็จะแตกร้าวและเกิดเป็นหลุมเป็นบ่อ

อาจารย์สิงห์อธิบายว่า “เมื่อถุงพลาสติกอันเป็นอินทรีย์สารตามธรรมชาติโดนความร้อน ก็จะกลายเป็นชั้นเคลือบหินเอาไว้ หินซึ่งเป็นอนินทรีย์สาร เมื่อถูกอินทรีย์สารหุ้มห่อเอาไว้ ก็จะคลุกกับน้ำมันดินเข้ากันได้ดี”
นักวิจัยช่วยอธิบายวิธีการเสริมว่า การนำเอาถุงพลาสติก น้ำมันดินกับเศษหินมาคลุกเข้าด้วยกันนั้น จะต้องมีสัดส่วนเฉพาะ และเมื่อไปทำให้มันร้อนอุณหภูมิสูงระหว่าง 120-130 องศาเซลเซียส ถุงพลาสติกบางๆ ก็จะก่อตัวเป็นชั้นเหนือเศษหิน และจะ ป้องกันถนนไม่ให้น้ำซึมลงไป ไม่ทำให้เกิดเป็นร่องให้น้ำลงไปขังได้.