It's me

ภาพถ่ายของฉัน
RedAngel
Bangkok, Bangkok, Thailand
Low profile, High profit.
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน

Visitor

My Time

30.12.51


Ecopolis: it’s not a real city, but it is a realistic vision of what our cities might be like by the year 2050. And it’s not pretty – the computer-generated megacity Ecopolis is dirty, polluted, running out of food, water and fuel, and prone to blackouts.


Discovery Channel’s ground breaking six-part series Ecopolis takes a look at key data and a possible model that experts have come up with for urban life in 2050. Hosted by Professor Dan Kammen, “Ecopolis” will address various threats to the future city and takes a look at possible solutions. Ecopolis premieres on Discovery Channel’s Planet Green block every Wednesday at 2200 hours (10:00 pm PHL), starting December 3. Encores on Thursday at 0100 hours (1:00 am) and Sunday at 0300 hours (3:00 am).


Professor Dan Kammen is a Berkeley Energy Professor and key member of a Nobel-prize winning team of scientists that advises governments on climate change. Dan Kammen is one of the world’s leading thinkers on climate change and how to avoid it. As a key author of the report for the UN’s Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC), his ground-breaking research was recently awarded the Nobel Peace Prize by the Nobel Committee.


Kammen is convinced that renewable energy alternatives will play a critical role in world energy markets of the future, and he has briefed decision-makers at the highest level, from the US House and Senate committees, to International Development agencies and the World Bank. He is determined that the world’s fuel mix be reversed to reduce our reliance on fossil fuels and avert climate change. Clearly, he is a man on a mission.


On “Ecopolis,” Dan will examine the various environmental problems that we might face as we head into the future – such as food and water shortages, depletion of oil reserves and fossil fuels, pollution, and energy-inefficient buildings. In each of the first five episodes, he will be presented with four competing technologies that could solve the problem addressed. Helped by number-crunchers from green think-tank The Centre for Alternative Technology, Dan must choose just one winning idea to deploy in the future city – without trashing the planet. In the sixth and final episode, Dan will put the top five technologies from the series in a head-to-head contest to find the single innovation with the greatest potential to transform the imaginary “Ecopolis.”


Find out about the revolutionary technologies that could rewrite the future – from atomising garbage at extreme temperatures and utilising the resulting gases as fuel, to harnessing photovoltaic solar energy that could transform the buildings of “Ecopolis” into mini power-stations, these solutions just might be able to turn future cities into places we can look forward to living in.


For the first episode which premieres this Wednesday, December 3 at 2200 hours (10:00pm SIN/HK), “Ecopolis” talks about the “Hungry City.”


As people move into cities and earn more, they eat more exotic produce, and high protein food like meat and dairy. Today, the average bite of food travels 1500 miles, racking up carbon emissions in the process. By 2050, food will have to travel even further, and fresh water will be in short supply. And these aren’t the only problems that cities like “Ecopolis” will face. Meat and dairy products are one of the fastest growing sources of dangerous methane emissions. So how can we solve this impending food and water crisis?


Find out on the first episode of “Ecopolis” this December 3 the four future-thinking food and water technologies Urban Farming, Methane Capture, Sound Powered Refrigeration, and Recycled Water.


Discovery Channel, the flagship network of Discovery Communications, is devoted to creating the highest quality non-fiction programming in the world and remains one of the most dynamic networks on television. First launched in 1985, Discovery Channel now reaches more than 154 million households in Asia-Pacific.


'อีโคโปลิส' พลังขับเคลื่อนอนาคต

อากาศปรวนแปรที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง หมายถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่มีทีท่าว่าจะเลวร้ายลงเรื่อย ๆ ความพยายามในการพยุงชีวิตของโลกใบนี้ต่อไปจึงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยเช่นกัน


นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล ศ.แดน แคมเมน จำลอง อีโคโปลิส มหานครแห่งอนาคต พิมพ์เขียวที่เป็นไปได้สำหรับชีวิตในเมืองในปี 2050 ขึ้น ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญทำนายว่า ร้อยละ 75 ของคนบนโลกจะอยู่อาศัยในเมืองที่มีลักษณะแบบนี้


พลเมืองอีโคโปลิสจะใช้พลังงานมากกว่าในปัจจุบันสามเท่า และผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าห้าเท่า ความเสียหายของสิ่งแวดล้อม อาจจะแก้ไขให้ดีเหมือนเดิมไม่ได้ ดังนั้นความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่กำลังเผชิญโลกของเราคือการหาแหล่งพลังงานที่สะอาด


ทุกวันนี้มีแหล่งพลังงานคาร์บอนต่ำอยู่แล้วคือปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น แต่อุบัติเหตุอย่างที่เกิดขึ้นที่เชอร์โนบิล ตลอดจนปัญหาในการจัดเก็บกากนิวเคลียร์ให้ปลอดภัยก็ยังทำให้ตัวเลือกนี้น่าสงสัย


เป็นเวลากว่า 50 ปีที่ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นกลายเป็นความฝันของผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงาน นี่คือวิธีที่ทั้งสะอาด ปลอดภัย และถูก ในการปลดปล่อยพลังงานที่มีปริมาณมหาศาล มันเป็นกระบวนการที่ทำให้ดวงอาทิตย์และดวงดาวต่าง ๆ ส่องแสงร้อนแรงในจักรวาล ปัญหาก็คือเราจะทำให้เกิดขึ้นบนโลกนี้ได้หรือไม่


ในชนบทของประเทศอังกฤษ ที่ห้องปฏิบัติการเจ็ต ทีมนักวิทยาศาสตร์นานาชาติกำลังพยายามสร้างพลังงานในระดับเดียวกับดวงอาทิตย์ขึ้นที่นี่โดยโทคามัค เตาปฏิกรณ์ฟิวชั่นต้นแบบที่ใหญ่ที่สุดในโลก เพื่อที่จะสร้างปฏิกิริยาฟิวชั่นขึ้นในห้องปฏิบัติการ นักวิทยาศาสตร์ต้องใช้ไฮโดรเจนชนิดพิเศษที่สามารถหลอมตัวได้ง่ายขึ้น ข่าวดีก็คือแหล่งเชื้อเพลิงนี้มีอยู่ทั่วไป คุณสามารถพบมันได้ในบ้านของคุณ มันคือ ไทรเตียม ซึ่งสกัดจากลิเทียมโลหะที่ใช้ทำแบตเตอรี่นั่นเอง ในขณะที่ดิวทีเรียมก็ได้มาจากน้ำธรรมดา ๆ


ในทางทฤษฎี เชื้อเพลิงชนิดนี้หนึ่งคันรถบรรทุกอาจจะให้พลังงานแก่อีโคโปลิสได้ถึงหนึ่งทศวรรษ นั่นก็หมายถึงจะมีกากนิวเคลียร์น้อยกว่า การใช้ปฏิกิริยาฟิวชั่นธรรมดามาก เช่นเดียวกับการแผ่รังสีอันตรายที่จะเกิดขึ้นเพียงเศษเสี้ยว นิดเดียว แต่การทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิวชั่นก็ไม่ใช่กระบวนการง่าย ๆ


ดวงอาทิตย์ สุดยอดสถานีพลังงานธรรมชาติ คือ เตาปฏิกรณ์ฟิวชั่นขนาดใหญ่ยักษ์ ประกอบด้วยพลาสมาซึ่งเป็นทะเลเรืองแสงของอนุภาคประจุไฟฟ้า มีไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ ลึกเข้าไปในแกนกลางดวงอาทิตย์ แรงโน้มถ่วงจะบีบพลาสมาและทำให้ร้อนที่อุณหภูมิ 27 ล้านองศาฟาเรนไฮต์ ภายใต้สภาวะสุดโต่งนี้ อนุภาคไฮโดรเจนจะบีบอัดเข้าหากันและหลอมรวมเข้าด้วยกัน ก่อเกิดเป็นธาตุใหม่คือฮีเลียม และปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมา


ทีมเจ็ตต้องเร่งความร้อนขึ้นจนถึง 270 ล้านองศาฟาเรนไฮต์ หรือร้อนกว่าใจกลางดวงอาทิตย์สิบเท่า โดยต้องรักษาระดับอุณหภูมินี้ไว้และแน่ใจว่าพลาสมาจะไม่ลามไปถึงด้านที่เป็นเหล็กกล้าของเตาปฏิกรณ์โทคามัค เพราะมันจะทำให้พลังงานความร้อนกระจัดกระจาย และยุติปฏิกิริยาฟิวชั่นลง ในที่สุด


แม้ว่าพวกเขาจะสามารถทำให้อนุภาคพลาสมาร้อนจัดวิ่งเข้าหากันด้วยความเร็ว 10,000 ไมล์ต่อวินาที กระทบกันแล้วหลอมรวมเข้าด้วยกัน เหมือนกับที่เกิดในดวงอาทิตย์ จนเกิดก๊าซฮีเลียมและพลังงานความร้อนปริมาณที่สุดจะคำนวณได้ แต่การที่พลาสมาเผาไหม้ทำให้ขดลวดแม่เหล็กต้องทำงานหนัก และถ้าร้อนจนเกินขีดก็จะหลอมละลายในที่สุด เตาปฏิกรณ์โทคามัคสามารถเดินเครื่องได้ประมาณ 30 วินาที


ทีมเจ็ตอาจจะทำให้เกิดพลังในระดับเดียวกับดาวฤกษ์ได้ แต่พวกเขาไม่สามารถทำให้มันอยู่ได้นาน และตั้งแต่ทดลองมา เตาปฏิกรณ์ไม่เคยเดินเครื่องอยู่ได้นานพอที่จะปลดปล่อยพลังงานออกมาให้สมกับพลังงานที่ใช้ไปได้ เครื่องไอเทอร์ เตาปฏิกรณ์ขนาดยักษ์ที่ใหญ่กว่าสิบเท่า แม่เหล็กพลังสูงของไอเทอร์เก็บความร้อนของพลาสมาได้มีประสิทธิภาพกว่าและทนต่ออุณหภูมิที่สูงกว่าจึงน่าจะเป็นความหวังที่อาจเป็นไปได้


แต่การหวังที่พลังงานอย่างใดอย่างหนึ่งอาจส่งผลเสียในภายหลัง นักวิทยาศาสตร์จึงมองไปที่โรงไฟฟ้าลอยฟ้าขนาดเล็กสำหรับบ้านทุกหลังคาเรือนที่เราใช้ประโยชน์จากลมมาหลายพันปีแล้วในพื้นที่ชนบท แต่สำหรับในเมืองที่ลมไม่ค่อยจะพัดผ่านอาจเป็นเรื่องยาก แม้ในที่สุดพวกเขาจะทำจนสำเร็จแต่ศูนย์คาร์บอนระบุว่า มันจะลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้เพียงร้อยละ 0.13 เท่านั้น


การนำพลังงานจากถ่านหินซึ่งถูกตราหน้าว่าเป็นพลังงานสกปรก ณ วันนี้ เพราะแต่ละปีโรงไฟฟ้าถ่านหินจะปล่อยกำมะถันซึ่งทำให้เกิดฝนกรดถึง 10,000 ตัน นอกจากนี้ยังมีไนโตรเจนอีก 10,000 ตัน ก๊าซพิษที่ทำให้เกิดควันเผาปอด และที่ร้ายกาจที่สุดก็คือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 4 ล้านตัน


ห้องกักเก็บคาร์บอนที่สมบูรณ์แบบใต้พื้นผิวโลกในชั้นหินที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นแหล่งกักเก็บก๊าซธรรมชาติ ชั้นหินหนาทึบที่กักก๊าซธรรมชาติเอาไว้นับล้านปีจนกระทั่งถูกค้นพบและขุดเจาะนำไปทำเป็นเชื้อเพลิง จึงอาจจะเปลี่ยนสภาพมาเป็นสุสานของคาร์บอนไดออกไซด์ในที่สุด ซึ่งหากนี่เป็นหนทางที่เป็นไปได้ การดักจับและจัดเก็บคาร์บอนอาจจะลดการปล่อยคาร์บอนจากพลังงานที่ใช้ลงได้มากถึงร้อยละ 83 มากกว่าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ช่วยลดคาร์บอนได้เพียงร้อยละ 13


ติดตามชมสารคดีใหม่ 6 ตอนจบชุด Ecopolis : Powering The Future ได้ในดิสคอฟเวอรี แชนแนล พุธที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 22.00 น. ทางทรูวิชั่นส์ 51.

Cold Sore Virus Linked To Alzheimer's Disease

เขียนโดย RedAngel ที่ 08:53

21.12.51

The virus behind cold sores is a major cause of the insoluble protein plaques found in the brains of Alzheimer's disease sufferers, University of Manchester researchers have revealed.

They believe the herpes simplex virus is a significant factor in developing the debilitating disease and could be treated by antiviral agents such as acyclovir, which is already used to treat cold sores and other diseases caused by the herpes virus. Another future possibility is vaccination against the virus to prevent the development of the disease in the first place.

Alzheimer's disease (AD) is characterised by progressive memory loss and severe cognitive impairment. It affects over 20 million people world-wide, and the numbers will rise with increasing longevity. However, despite enormous investment into research on the characteristic abnormalities of AD brain - amyloid plaques and neurofibrillary tangles - the underlying causes are unknown and current treatments are ineffectual.

Professor Ruth Itzhaki and her team at the University's Faculty of Life Sciences have investigated the role of herpes simplex virus type 1 (HSV1) in AD, publishing their very recent, highly significant findings in the Journal of Pathology.

Most people are infected with this virus, which then remains life-long in the peripheral nervous system, and in 20-40% of those infected it causes cold sores. Evidence of a viral role in AD would point to the use of antiviral agents to stop progression of the disease.

The team discovered that the HSV1 DNA is located very specifically in amyloid plaques: 90% of plaques in Alzheimer's disease sufferers' brains contain HSV1 DNA, and most of the viral DNA is located within amyloid plaques. The team had previously shown that HSV1 infection of nerve-type cells induces deposition of the main component, beta amyloid, of amyloid plaques. Together, these findings strongly implicate HSV1 as a major factor in the formation of amyloid deposits and plaques, abnormalities thought by many in the field to be major contributors to Alzheimer's disease.

The team had discovered much earlier that the virus is present in brains of many elderly people and that in those people with a specific genetic factor, there is a high risk of developing Alzheimer's disease.

The team's data strongly suggest that HSV1 has a major role in Alzheimer's disease and point to the usage of antiviral agents for treating the disease, and in fact in preliminary experiments they have shown that acyclovir reduces the amyloid deposition and reduces also certain other feature of the disease which they have found are caused by HSV1 infection.

Professor Itzhaki explains: "We suggest that HSV1 enters the brain in the elderly as their immune systems decline and then establishes a dormant infection from which it is repeatedly activated by events such as stress, immunosuppression, and various infections.

"The ensuing active HSV1 infection causes severe damage in brain cells, most of which die and then disintegrate, thereby releasing amyloid aggregates which develop into amyloid plaques after other components of dying cells are deposited on them."

Her colleague Dr Matthew Wozniak adds: "Antiviral agents would inhibit the harmful consequences of HSV1 action; in other words, inhibit a likely major cause of the disease irrespective of the actual damaging processes involved, whereas current treatments at best merely inhibit some of the symptoms of the disease."

The team now hopes to obtain funding in order to take their work further, enabling them to investigate in detail the effect of antiviral agents on the Alzheimer's disease-associated changes that occur during HSV1 infection, as well as the nature of the processes and the role of the genetic factor. They very much hope also that clinical trials will be set up to test the effect of antiviral agents on Alzheimer's disease patients.

แผลพุพองเป็นลางบอกเหตุ สงสัยจะเสี่ยงโรคสมองเสื่อม

นักวิจัยได้หลักฐานเพิ่มมากขึ้นว่า การเกิดแผลพุพองที่ริมฝีปาก ทำให้เจ้าตัวตกอยู่ในความเสี่ยงของโรคสมองเสื่อม

นักวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ของอังกฤษกล่าวว่า ไวรัสที่ทำให้เป็นเริม เป็นตัวการใหญ่ ทำให้เกิดคราบโปรตีนจับที่สมอง ดังที่พบอยู่ในผู้ป่วยเป็นโรคสมองเสื่อม แต่ในทางตรงกันข้าม การค้นพบก็ทำให้รู้ว่าพวกยาต้านไวรัส ที่ใช้รักษาแผลพุพองเหล่านั้น ก็อาจใช้ในการป้องกันโรคสมองเสื่อมได้เช่นกัน
ศาสตราจารย์รูธ อิตซากี้ กับคณะ ได้ค้นพบหลักฐานดีเอ็นเอ อันเป็นสารพันธุกรรมของไวรัสเริม แบบที่ 1 ใน คราบสมองของ ผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมถึงร้อยละ 90 และได้สรุปว่า การค้นพบส่อให้เห็นอย่างแข็งแรงว่า ไวรัสที่ทำให้เกิดแผลพุพอง เป็นสาเหตุอันเป็นรากฐานของโรคสมองเสื่อม

อาจารย์รูธอธิบายให้ฟังว่า “เราเชื่อว่าเชื้อไวรัสเริมแบบที่ 1 เข้าสู่สมองของผู้สูงอายุ ในยามที่ระบบภูมิคุ้มกันโรคเสื่อมโทรมลง ฝังตัวก่อการอักเสบขึ้นเงียบๆ และเมื่อผู้นั้นเกิดเครียด หรือภูมิคุ้มโรคอ่อนแอลง ก็จะไปปลุกมันขึ้นหนแล้วหนเล่า”.