It's me

ภาพถ่ายของฉัน
RedAngel
Bangkok, Bangkok, Thailand
Low profile, High profit.
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน

Visitor

My Time

Max Wertheimer

เขียนโดย RedAngel ที่ 22:16

30.9.51

Max Wertheimer


Gestalt psychology (also Gestalt of the Berlin School) is a theory of mind and brain that proposes that the operational principle of the brain is holistic, parallel, and analog, with self-organizing tendencies; or, that the whole is different than the sum of its parts. The classic Gestalt example is a soap bubble, whose spherical shape is not defined by a rigid template, or a mathematical formula, but rather it emerges spontaneously by the parallel action of surface tension acting at all points in the surface simultaneously. This is in contrast to the "atomistic" principle of operation of the digital computer, where every computation is broken down into a sequence of simple steps, each of which is computed independently of the problem as a whole. The Gestalt effect refers to the form-forming capability of our senses, particularly with respect to the visual recognition of figures and whole forms instead of just a collection of simple lines and curves.
World War I
The collaborative work of the three Gestalt psychologists was interrupted by World War I. Both Wertheimer and Koffka were assigned to war-related research, while Kohler was appointed the director of an anthropoid research station on Teneriffe, in the Canary Islands. The three men reunited after the war ended and continued further research on the experiments.
Berlin Years
After the war, Koffka returned to Frankfurt, while Kohler became the director of the Psychological Institute at the University of Berlin, where Wertheimer was already on the faculty. Using the abandoned rooms of the Imperial Palace, they established a now-famous graduate school, in tandem with a journal called Psychologische Forschung (Psychological Research: Journal of Psychology and its Neighboring Fields), in which their students’ and their own research was initially published. The success of their efforts is evidenced by the familiarity of the names of their students in the literature of psychology, among them Kurt Lewin, Rudolf Arnheim, Wolfgang Metzger, Bluma Zeigarnik, Karl Duncker, Herta Kopfermann and Kurt Gottschaldt.
In 1923, while teaching in Berlin, Wertheimer married Anna (called Anni) Caro, a physician’s daughter, with whom he had four children: Rudolf (who died in infancy), Valentin, Michael and Lise. They divorced in 1942.
The New School
From 1929 to 1933, Wertheimer was a professor at the University of Frankfurt. When Adolf Hitler became Chancellor of the Third Reich in 1933, it became apparent to Wertheimer (and to countless other “non-Aryan” intellectuals) that he must leave Germany. In the end, he accepted an offer to teach at the New School for Social Research in New York. The Wertheimers’ emigration was arranged through the U.S. consulate in Prague, and he and his wife and their children arrived in New York harbor on September 13, 1933.
Later life
For the remaining decade of his life, Wertheimer continued to teach at the New School, while remaining in touch with his European colleagues, many of whom had also emigrated to the U.S. Koffka was teaching at Smith College, Kohler at Swarthmore College, and Lewin at Cornell University and the University of Iowa. Although in declining health, he continued to work on his research of problem-solving, or what he preferred to call “productive thinking.” He completed his book (his only book) on the subject (with that phrase as its title) in late September 1943, and died just three weeks later of a heart attack. Wertheimer was buried in Beechwood Cemetery in New Rochelle, New York.

เกิดเมื่อปี1880 และเสียชีวิตเมื่อปี 1943 ที่เมือง Berlin และเสียชีวิตปี 1941 เป็นนักจิตวิทยาทางด้านจิตใจและสมอง (กลุ่มเกสตัลท์) หรือ กลุ่มที่เน้นความสำคัญของการคิด (Cognitive Theory) เขาได้เป็นผู้ช่วยสอนที่มหาวิทยาลัย แฟรงค์เฟริท

โดย เวอร์ไธเมอร์ ศึกษาเกี่ยวกับ
การรับรู้เคลื่อนที่ (Perception of movement)
โดยเขาได้กล่าวถึงการทดลองไว้ตอนหนึ่งว่า ถ้าเรายื่นนิ้วให้ห่างจากปลายจมูกราว 6 นิ้ว และหลับตามองทีละข้าง จะเห็นว่านิ้วมือเราไม่อยู่ทีเดิม จากการทดลองที่ปรากฏนี้ เขาได้อธิบายถึงการรับรู้ว่าคนเรามันจะรับรู้และตัดสินใจสิ่งต่าง ๆ โดยเอาความรู้สึกของตนเองเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยเสมอ


Gestalt psychologists

เขียนโดย RedAngel ที่ 02:35

26.9.51


Gestalt psychologists find it is important to think of problems as a whole. Max Wertheimer considered thinking to happen in two ways: productive and reproductive.


Productive thinking- is solving a problem with insight.

This is a quick insightful unplanned response to situations and environmental interaction.

Reproductive thinking-is solving a problem with previous experiences and what is already known. (1945/1959).


This is a very common thinking. For example, when a person is given several segments of information, he/she deliberately examines the relationships among its parts, analyzes their purpose, concept, and totality, he/she reaches the "aha!" moment, using what is already known. Understanding in this case happens intentionally by reproductive thinking.


Other Gestalts psychologist Perkins believes insight deals with three processes:

1) Unconscious leap in thinking.

2) The increased amount of speed in mental processing.

3) The amount of short-circuiting which occurs in normal reasoning.



เกสตัสท์ (Gestalt) หมายถึง รูปหรือแบบแผน (Form of Pattern) ต่อมาได้แปลว่าส่วนรวม (Whole) เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มนี้ที่กล่าวว่าส่วนรวมมีค่ามากกว่าผลบวกของส่วนย่อย (The whole is greater than the sum of the parts) ซึ่งจะเกิดจากประสบการณ์และการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจาก 2 ลักษณะ คือ การรับรู้ (Perception) จากการสัมผัสด้วยอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ส่วน คือ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง ซึ่งระเบียบการรับรู้โดยแบ่งเป็นกฎย่อย ๆ

ดังนั้น นักจิตวิทยากลุ่มนี้จึงถือว่า การเรียนรู้มิใช่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองโดยบังเอิญ แต่จะต้องประกอบด้วย ความรู้ ความเข้าใจ โดยที่อินทรีย์จะพยายามรวบรวมการรับรู้ (Perception) เข้าเป็นแบบแผนที่มีความหมายก่อนเพื่อจะให้เป็นการหยั่งรู้ (Insight) และการหยั่งที่เกิดขึ้นนี้จึงจะนำไปใช้ในการแก้ปัญหา (Problem Solving)

Large Hadron Collider : LHC

เขียนโดย RedAngel ที่ 00:26

13.9.51


ผลการทดลองหาจุดกำเหนิดจักรวาล(CERN)
รอมากว่า 20 ปี ลำโปรตอนแรกสู่เครื่องเร่งอนุภาคใหญ่ที่สุดในโลก


"เซิร์น" กดปุ่มเดินเครื่องแอลเอชซี ยิงบีมแรก ทดสอบลำอนุภาควิ่งครบรอบ ในห้องทดลองยักษ์ใต้ดิน เปิดประเดิมภารกิจไขปริศนากำเนิดจักรวาล ที่นักฟิสิกส์ตั้งตาคอย นับเป็นวันที่หลายคนลุ้นว่า เครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่ที่สุดในโลก

"แอลเอชซี" (Large Hadron Collider : LHC) ที่องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์ (European Center for Nuclear Research) หรือชื่อย่อตามภาษาฝรั่งเศสอันเป็นต้นกำเนิดเดิม นามว่า "เซิร์น" (CERN) กำหนดให้วันที่ 10 ก.ย.51 เป็นเวลาแห่งการเดินเครื่อง เพื่อการทดลองค้นหาคำตอบที่นักฟิสิกส์ตั้งคำถามมายาวนาน

ณ เดอะโกลบ อันเป็นห้องรับแขกของเซิร์น บริเวณนอกเมืองเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ คึกคักตั้งแต่เช้าตรู่ เพื่อต้อนรับนักข่าวจากทั่วโลก โดยเซิร์นพร้อมเปิดบ้าน ให้ผู้สื่อข่าวเป็นสักขีพยานในการยิงลำแสงแรก ในช่วงเช้าของเวลาทำการ ซึ่งช้ากว่าประเทศไทย 5 ชั่วโมง พร้อมทั้งส่งสัญญาณดาวเทียมสู่สถานีโทรทัศน์ทั่วโลก (หากสถานีใดต้องการ) และยังมีการถ่ายทอดสดผ่านเว็บแคสต์ ให้ได้ชมกันผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ แต่ดูเหมือนว่าการจราจรบนโลกไซเบอร์จะคับคั่งกว่าที่เซิร์นคาดการณ์ไว้ จึงทำให้หลายๆ พื้นที่ไม่สามารถเข้าชมได้ (รวมถึงทีมงานผู้จัดการวิทยาศาสตร์ด้วย)

ทั้งนี้ ในเวลา 09.30 น. หรือ 14.30 น. ตามเวลาประเทศไทย ลำโปรตอนลำแรกได้ถูกยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี ซึ่งอาจนับได้ว่าเป็นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุด ซับซ้อนที่สุด และมีมูลค่ามากที่สุดในโลก โดยใช้เวลาสร้างนานถึง 20 ปี กว่าจะได้เดินหน้ายิงลำแสงแรกในวันนี้

เมื่อยิงลำโปรตอนไปแล้ว ต้องรอประมาณ 5 วินาที จึงจะได้ข้อมูลการเดินทางของลำแสง เพื่อวิเคราะห์ต่อไป

อย่างไรก็ดี ในวันแรกของการเปิดใช้เครื่องเร่งอนุภาค หรือ เฟิร์สต์บีมเดย์ (LHC First Beam Day) ครั้งนี้ จะยังไม่มีการชนกันของลำโปรตอนแต่อย่างใด เป็นแค่เพียงการยิงลำแสง 1 ลำเพื่อตรวจสอบดูว่า ลำโปรตอนสามารถเดินทางได้รอบท่อตามที่คำณวนไว้หรือไม่

ส่วนการทดลองยิงลำโปรตอนเพื่อชนกันของอนุภาคครั้งแรกนั้น ทางเซิร์นเปิดเผยว่า คงจะอีกหลายสัปดาห์ถัดจากนี้



ภาพถ่ายผ่านดาวเทียม




“เซิร์น” คำนวณพลาด! แม่เหล็กยักษ์เสียหายก่อนได้ไขปริศนาจักรวาล

ไทม์ออนไลน์/บีบีซีนิวส์/เดอะรีจิสเตอร์ - ก่อนได้ไขปริศนา “บิ๊กแบง” ของจักรวาล “เซิร์น” ก็เจอระเบิดใต้เขตแดนสวิตซ์และฝรั่งเศสเสียก่อน เหตุเกิดจาก “เฟอร์มิแล็บ” คำนวณการออกแบบแม่เหล็กผิดพลาด คาดการเดินเครื่องครั้งใหญ่อาจต้องเลื่อนออกไปอีกหลายเดือนหลังจากที่กำหนดไว้ปลายปีนี้
“เซิร์น” (CERN) หรือองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์ (European Organization for Nuclear Research) ซึ่งมีห้องปฏิบัติการด้านฟิสิกส์อนุภาคที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ลึกลงไปใต้ดิน 100 เมตรบริเวณรอยต่อประเทศสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส เพิ่งจะติดตั้งแม่เหล็กยักษ์ของเครื่องตรวจวัดอนุภาค “ซีเอ็มเอส” (Compact Muon Solenoid: CMS) ไปเมื่อปลายเดือน ก.พ. ที่ผ่านมา ซึ่งแม่เหล็กดังกล่าวเป็นอุปกรณ์หนึ่งที่จะช่วยไขปริศนา “บิ๊กแบง” หรือกำเนิดจักรวาลได้
ยังไม่ทันที่จะมีการเดินเครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่ที่สุดในโลกก็เกิดระเบิดขึ้นในอุโมงค์ของห้องปฏิบัติการเมื่อปลายเดือน มี.ค.ทำให้แม่เหล็กยักษ์ตัวหนึ่งของเครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่ “แอลเอชซี” (Large Hadron Collider: LHC) เสียหาย อุบัติเหตุดังกล่าวเกิดขึ้นระหว่างการทดสอบแรงดันระดับสูง แต่ความไม่สมดุลของแรงจากแรงดันของก๊าซฮีเลียมที่หล่อเย็นภายในอุโมงค์ได้ดันแม่เหล็กที่หนักกว่า 20 ตัน จนเป็นเหตุให้โครงสร้างยึดแม่เหล็กชำรุดและเกิดอุบัติเหตุในที่สุด
“มันเป็นระเบิดนรกจริงๆ ภายในอุโมงค์ที่ติดตั้งเครื่องจักรเต็มไปด้วยก๊าซฮีเลียมและฝุ่น เราต้องเรียกหน่วยดับเพลิงให้เข้ามาอพยพผู้คน คนที่ทำงานทดสอบต้องเผชิญหน้ากับความตาย แต่พวกทั้งหมดก็ไปอยู่ในที่ปลอดภัยและไม่มีใครได้รับบาดเจ็บ” ดร.ลิน อีวานส์ (Dr. Lyn Evans) หัวหน้าโครงการก่อสร้างเครื่องเร่งอนุภาคของเซิร์นเปิดเผยถึงอุบัติเหตุดังกล่าวว่าเป็นการระเบิดที่จะก่อให้เกิดอันตรายได้อย่างมาก และนักวิจัยบางคนก็ได้เห็นการไหลของก๊าซที่เป็นต้นเหตุของการระเบิด
ต้นเหตุจริงๆ ของอุบัติเหตุเกิดมาจากการคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่ผิดพลาดในการก่อสร้างแม่เหล็กยักษ์ซึ่งรับผิดชอบโดย ห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอนุภาคแห่งชาติเฟอร์มิ (Fermi National Acceleratory Laboratory) หรือเฟอร์มิแล็บ (Fermilab) ของทบวงพลังงานสหรัฐ แต่ในเบื้องต้นทีมวิจัยยืนยันว่าความผิดพลาดนี้จะไม่มีการโยนความผิดให้กับใคร
อย่างไรก็ดี ปิแอร์ ออดดัน (Pier Oddone) ผู้อำนวยการเฟอร์มิแล็บก็มีท่าทีโกรธเป็นฟืนเป็นไฟและกระอักกระอ่วนต่อเหตุการณ์ดังกล่าว โดยเขามีข้อความถึงทีมงานของเฟอร์มิแล็บว่าพวกเขาได้ทำเรื่องที่น่า “ขายหน้า” ที่สุดบนเวทีโลก
“เราพบความโง่ของตัวเองที่พลาดการสมดุลแรงซึ่งเป็นเรื่องพื้นๆ และไม่ใช่แค่ความผิดพลาดเพียงครั้งเดียวในการออกแบบทางวิศวกรรม แต่เป็นความผิดพลาดถึง 4 ครั้งที่มีการตรวจสอบตั้งแต่ปี 2541-2545 ก่อนที่จะมีการลงมือสร้างแม่เหล็กจริงๆ” ผู้อำนวยการเฟอร์มิแล็บกล่าว
และช่างเป็นเรื่องประจวบเหมาะที่เฟอร์มิแล็บได้รับจากการเลื่อนกำหนดเดินเครื่องเร่งอนุภาคของเซิร์น เพราะนักวิจัยของเฟอร์มิแล็บเองก็ตั้งใจที่จะเดินเครื่องเร่งอนุภาค “เทวาตรอน” (Tevatron) ซึ่งเป็นคู่แข่งของเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีแต่ใช้พลังงานน้อยกว่า ทั้งนี้ทีมงานของเฟอร์มิแล็บจะให้พลังงานแก่เทวาตรอนมากขึ้น โดยหวังว่าพวกเขาจะได้ค้นพบอนุภาค “ฮิกก์” (Higgs) ก่อนที่จะเดินเครื่องแอลเอชซี เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นถึงกับทำให้ทีมวิจัยของแอลเอชซีค่อนขอดว่าการยืดเวลาออกไปเป็นที่ต้องการของทีมวิจัยจากสหรัฐพอดี
สำหรับเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีนั้นถูกออกแบบสำหรับการชนกันของอนุภาคโปรตอนที่ความเร็วใกล้แสง โดยหวังว่าการชนนี้จะทำให้เกิดอนุภาคใหม่ที่เรียกว่า "ฮิกก์" ตามที่นักทฤษฎีได้คาดการณ์ไว้ และอนุภาคดังกล่าวจะเป็นกุญแจสำคัญที่จะอธิบายคุณสมบัติของสสาร อาทิ สสารมีมวลและน้ำหนักได้อย่างไร เป็นต้น
แอลเอชซีนั้นประกอบด้วยท่อ 2 ท่อซึ่งเชื่อมต่อกัน แต่ละท่อบรรจุลำอนุภาคโปรตอนที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้แสงและวิ่งวนอยู่ในท่อด้วยแรงแม่เหล็ก โดยแม่เหล็กเหล่านั้นเป็นแม่เหล็กตัวนำยิ่งยวดซึ่งหมายความว่าจะต้องหล่อเย็นส่วนประกอบทั้งหมดของเครื่องเร่งอนุภาคที่อุณหภูมิ -268 องศาเซลเซียส โดยการเติมฮีเลียมเหลวในท่อ ขณะเดียวกันนักวิทยาศาสตร์ก็ต้องบังคับให้ลำโปรตอนที่มีอนุภาคจำนวนมหาศาลนั้นมีความหนาน้อยกว่าเส้นผม ซึ่งแม่เหล็กที่ทำหน้าที่ดังกล่าวก็ได้ระเบิดไประหว่างการทดสอบแรงดัน

ทดลองเพื่อสนองเพียงความอยากรู้อยากเห็นเท่านั้นหรือ?


4.9.51

Key to long life: Tests on mice have
helped scientists discover the way to
extending the human lifespan

Scientists have made a genetic breakthrough which they claim could extend human life and even protect against cancer.

They carried out experiments on mice which made them live 45 per cent longer and left them free from tumours.

The researchers are confident that the technique could be used to extend the lifespan of humans - perhaps within 20 years - because the genes involved exist naturally in both mice and humans and perform similar roles.

And they say that the breakthrough could one day see all humans benefiting from a longer and healthier life without the threat of serious disease.

Leading geneticists and cancer experts say the development is both extraordinary and exciting.
The team of researchers achieved their results by inserting an extra copy of three genes - called telomerase, p53 and p16, already known to be important for longevity and suppressing tumours into the stem cells of mice.

Inserting an extra copy improves their function in the body because they produce more protein, which makes them more active.
This in turn helps telomerase to protect chromosomes from shrinking, a process which normally happens naturally as all living creatures age. And it means p53 and p16 work to prevent cells mutating and dividing - and therefore preventing cancer - while producing a good balance of new and healthy cells.

The technique is groundbreaking because it managed to get extra copies of both p53 and p16 into the mice, which scientists have been trying to do for years. It is also the first time that scientists have been able to extend the life of mice in this way while protecting them against cancer.
Previously, mice had been bred to be cancer-free but their lifespans were not significantly altered. In some cases, they were shortened. Scientists have previously extended the life of mice but only by restricting their diet.

The modified mice were allowed to breed to strengthen their new DNA pattern, which created a group of ‘supermice’ with longer lifespans and in-built cancer protection.

It is thought the researchers managed to create mice which lived to around four-and-a-half years. Normally, they live for an average of three years.

The team, from the Spanish National Cancer Research Centre (CNIO) in Madrid, say this is the equivalent of humans living to 125.

Manuel Serrano, one of the researchers speaking at a conference, said: ‘When activating p53 and p16 in mice, the incidence of cancer is reduced to practically zero.

'We don’t think the mice lived longer because they had less cancer but because these genes also protected against ageing.’

Chief researcher Maria Blasco, one of Spain’s leading scientists, told the conference: ‘The elixir of eternal youth is now not a utopian dream.

‘The discovery opens the door to [the possibility] that humans could live 125 years and without cancer.’

Top British geneticist Aubrey de Grey called it an ‘extraordinary breakthrough’ which scientists had been trying to achieve for years.

He added: ‘The big thing that makes this new is that it’s the first time anyone has succeeded in manipulating the interaction between cancer and ageing in a manner that actually succeeds and produces a longer lifespan in mammals than would exist without intervention.’


ยืดอายุหนูได้เท่าอายุคน125ปี อาจจะนำวิธีการมา ใช้กับมนุษย์

มนุษย์จะสามารถมีชีวิตอยู่อย่างแข็งแรงจนอายุถึง 125 ปีได้ โดยไม่ใช่ความฝันที่ไกลเกินเอื้อมอีกต่อไป เพราะนักวิทยาศาสตร์สามารถดำเนินการกับหน่วยพันธุกรรมของหนูทดลอง จนมันมีอายุยืนยาวกว่าปกติ อีกเกือบครึ่งเท่าตัว

หนังสือพิมพ์รายวัน “เดอะ เดลี่ เมล์” ฉบับใหญ่ของอังกฤษ รายงานว่า มาเรีย บลาสโก นักวิทยาศาสตร์เอกของศูนย์วิจัยโรคมะเร็งแห่งชาติสเปน ได้กล่าวอย่างหนักแน่นว่า หากสามารถเปลี่ยนการทดลองกับหนูมาทำกับคนได้สำเร็จ ก็จะยืดอายุขัยของมนุษย์ออกไปได้เช่นกัน เพราะเหตุว่ายีนที่เป็นตัวการนั้นมีอยู่ทั้งในหนูและมนุษย์ด้วยกัน “ยาอายุวัฒนะไม่ได้เป็นความฝันอีกต่อไปแล้ว” การค้นพบได้เปิดประตู ไปสู่การทำให้มนุษย์ สามารถจะอยู่อย่างแข็งแรงได้จนอายุถึง 125 ปี โดยไม่ต้องห่วงเรื่องมะเร็งด้วย”

คณะนักวิทยาศาสตร์ได้จัดการสอดแบบจำลองของยีน 3 ชนิด ซึ่งกำหนดอายุขัยของเซลล์และกำจัดมะเร็งเข้าไปในเซลล์ต้นกำเนิดของหนู แบบจำลองที่ใส่เพิ่มเข้าไปได้ช่วยสร้างโปรตีนเพิ่มขึ้น ทำให้หนูแข็งแรงขึ้น หนูตัวที่ได้รับการปรับแต่งยีน ถูกปล่อยให้มีลูกหลานตามปกติ เพื่อให้เผยแพร่ ดีเอ็นเอรูปแบบใหม่ สร้างฝูง “ซุปเปอร์หนู” ที่จะมีอายุยืนและปลอดมะเร็งขึ้น เป็นที่คาดว่าหนูเกิดใหม่เหล่านี้ พวกมันจะมีอายุยืนถึง 4 ปีครึ่ง ซึ่งอายุขัยเฉลี่ยของหนูแค่ 3 ปีเท่านั้น “ซึ่งหากเทียบกับอายุคนแล้ว จะเทียบได้กับคนที่มีอายุถึง 125 ปี”.