It's me

ภาพถ่ายของฉัน
RedAngel
Bangkok, Bangkok, Thailand
Low profile, High profit.
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน

Visitor

My Time

22.7.51


งานนี้เป็นการฉลองวันคล้ายวันเกิด รศ.ดร.สุพิทย์ แล้วก็เป็นธรรมเนียมในการเปิดตัวรุ่นไปด้วยถือว่าเป็นฤกษ์งามยามดี....งานนี้เป็นการจัดงานร่วมกันครั้งแรกของ ๗ ยอดมนุษย์ ไม่ใช่เรื่องง่ายสักเท่าไรในการจัดงานใหญ่ครั้งแรก การเตรียมตัวมีเพียงสองสัปดาห์ แต่พวกเราก็สามารถช่วยกันทำจนผ่านพ้นไปได้เกือบดี มีหลายเรื่องที่ต้องนำมาปรับปรุงในการจัดงานครั้งหน้า ก็ได้แต่หวังว่าผู้ที่มาร่วมงานจะมีความประทับใจหรือจดจำบางส่วนในงานครั้งนี้ไว้ได้บ้างไม่มากก็น้อยแค่นั้นก็ถือว่าประสบความสำเร็จมากพอแล้วสำหรับจัดงานครั้งแรกของมือสมัครเล่นมากๆ



เริ่มจากปัญหาใหญ่เลย.....เงินทุน สองสัปดาห์จะเก็บเงินกันทันได้ที่ไหน พี่หมวยของพวกเราได้เสนอให้ใช้ทุนของพี่หมวยก่อน ก็ต้องขอบคุณพี่หมวยไว้ ณ ที่นี้เลยนะคะ



ปัญหาต่อมาสถานที่....กอล์ฟคนสวยได้ดั้นด้น หาร้านแสนสวยบริการเกือบห่วย

ลักษณะของงาน.....อาจารย์โญ ได้เสนอ รักสยามแต่งตัวไทยให้เข้ากับบรรยากาศของร้าน


งานต่อมาการ์ดเชิญ.....น้องจอยได้ทำการ์ดที่โชว์ไว้ข้างบน พร้อมฉากหลัง สวยมากขอบอก

วิดีโอโชว์ตัว.....คุณหลิงจัดทำได้อย่างสวยงามอย่างกะทัดรัด ประหยัดเวลา

ของที่ระลึก....ส่งตรงมาจากเชียงใหม่ โดย....คุณมน เพื่อน คุณณศิริ

ที่ขาดไม่ได้แขกผู้มีเกียรติ.....ทิดตั้งผู้รับผิดชอบซึ่งสามารถใช้เสียงหล่อๆ เรียนเชิญมาได้มากทีเดียว



รศ.ดร.สุพิทย์และครอบครัวให้เกียรติมาร่วมงาน


รศ.อรรพร.....ท่านมาคนเดียว



ผศ.ดร.ศิริรัตน์และครอบครัว (น้องกลีบบัวน่ารักมาก)

คุณตองผู้ได้รับรางวัลเจ้าหญิงในค่ำคืนนั้น


พี่แจ๊คได้รับรางวัลเจ้าชายไปโดยปราศจากคู่แข่ง


รางวัลที่แซวกันเล่น......พี่บ๊วย นำทีมโดยอาจารย์อรรถพร.....ล้อเล่นนะคะอาจารย์ (รักหรอกจึงหยอกเล่น)



Cow Backpacks Trap Methane Gas

เขียนโดย RedAngel ที่ 10:49

18.7.51

Cow Backpacks Trap Methane Gas
by Lisa Zyga, General Science / Other


In an attempt to understand the extent of cow flatulence on global warming, scientists in Argentina are strapping plastic bags to the backs of cows to capture their emissions.


Argentina has more than 55 million cows, making it a leading producer of beef. In the study, the scientists were surprised to discover that a standard 550-kg cow produces between 800 to 1,000 liters of emissions, including methane, each day.


Further, methane - which is also released from landfills, coal mines and leaking gas pipes - is 23 times more effective than carbon dioxide at trapping heat in the atmosphere.


"When we got the first results, we were surprised," said Guillermo Berra, a researcher at the National Institute of Agricultural Technology in Argentina. "Thirty percent of Argentina´s (total greenhouse) emissions could be generated by cattle.


" In their study, the researchers attached balloon-like plastic packs to the backs of at least 10 cows. A tube running to the animals´ stomachs collected the gas inside the backpacks, which were then hung from the roof of the corral for analysis.


The Argentine researchers say that the slow digestive system of the cows causes them to produce these large amounts of methane. Now, the scientists are performing trials of new diets designed to improve the cows´ digestion and reduce global warming. By feeding cows clover and alfalfa instead of grain, "you can reduce methane emissions by 25 percent," according to Silvia Valtorta of the National Council of Scientific and Technical Investigations.


จับวัวติดลูกโป่งวัดค่ามีเทน


นักวิทยาศาสตร์ชาวอาร์เจนตินาจับวัวบรรทุกถุงพลาสติกใสต้องการพิสูจน์คำครหาว่า วัวควายก็มีส่วนทำโลกร้อนเหมือนกัน ไม่ใช่แต่ประเทศอุตสาหกรรมเท่านั้น


อาร์เจนตินาเป็นประเทศที่เลี้ยงวัวมากกว่า55 ล้านตัว และส่งออกผลิตภัณฑ์เนื้อเป็นอันดับต้นของโลก ผลจากการศึกษาครั้งนี้เล่นเอานักวิทยาศาสตร์ถึงกับแปลกใจที่พบว่า วัวมาตรฐานขนาด 550 กิโลกรัม แพร่สารพัดก๊าซออกมาถึง 800-1,000 ลิตรทุกวันรวมถึงก๊าซมีเทน หนึ่งในก๊าซเรือนกระจก


กุยเลอร์โมเบอร์รา นักวิจัยจากสถาบันเทคโนโลยีเกษตรในอาร์เจนตินา เอ่ยว่า ตอนที่เห็นผลวิจัยครั้งแรก ทำเอาพวกเขางงไปตามกัน นั่นหมายความว่า ราว 30% ของก๊าซเรือนกระจกที่อาร์เจนตินาแพร่ออกมา อาจเกิดจากการทำฟาร์มปศุสัตว์


การศึกษาครั้งนี้ทีมวิจัยนำถุงพลาสติกคล้ายบอลลูนติดไว้บนหลังวัว 10 ตัว โดยต่อท่อเข้าไปยังกระเพาะของวัวเพื่อนำก๊าซมาเก็บไว้ในถุง


ทั้งนี้ระบบย่อยอาหารแบบเคี้ยวเอื้องของวัว เป็นตัวการทำให้เกิดมีเทนจำนวนมาก ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์เตรียมออกแบบอาหารชนิดใหม่ เพื่อปรับปรุงระบบย่อยอาหารของวัว และลดก๊าซโลกร้อน


มูลวัวปล่อยก๊าซมีเทน55% คาร์บอนไดออกไซ์ด 30-35% ที่เหลือเป็นไฮโดรเจนและไนโตรเจน แม้ว่ามูลวัวจะปล่อยก๊าซโลกร้อน แต่มูลของสัตว์เคี้ยวเอื้องพวกนี้เป็นแหล่งเชื้อเพลิงสำหรับอนาคต เมื่องคำนวณแล้วพบว่ามูลวัวขนาดหนึ่งลูกบาศก์ฟุต ให้ความร้อนได้ราว 600 บีทียู


ก๊าซจากมูลสัตว์ถือว่าเป็นก๊าซชีวภาพอย่างหนึ่งในอินเดีย เกษตรกรจำนวนมากทำโรงผลิตก๊าซขนาดเล็กไว้ใกล้บ้าน และต่อท่อก๊าซมายังครัวเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงประกอบอาหาร จากการประเมินคาดว่ามีโรงผลิตก๊าซถึง 2 ล้านโรง เกษตรกรปากีสถานก็นิยมผลิตก๊าซรูปแบบนี้เช่นกัน รัฐบาลถึงกับสนับสนุนค่าทำระบบให้ 50%

12.7.51

Vaginal Microbicides May Prevent More Infections In Men Than Women

ScienceDaily (July 9, 2008)





Vaginal microbicides currently in clinical trials may be the only weapon that will protect women against infection from HIV. Yet, under likely circumstances, these microbicides may be of more benefit to men than women, according to a new UCLA AIDS Institute study.

The study, which used novel mathematical models to simulate clinical trials and population-level transmission of HIV, appears July 7 in the online issue of Proceedings of the National Academy of Sciences

"At the moment, there is absolutely nothing that women can do to protect themselves from HIV --condoms are not in women's control," said senior study author Sally Blower, professor of psychiatry and biobehavioral sciences at the Semel Institute for Neuroscience and Human Behavior at UCLA and a member of the UCLA AIDS Institute. "Drug companies are developing vaginal microbicides to provide direct protection to women and basically empower them so women have some preventive measure that's under their control."

Microbicides are compounds that can be applied inside the vagina to protect against HIV and other sexually transmitted diseases. Pharmaceutical companies are currently conducting trials of second-generation microbicides that are based on antiretroviral, or ARV, drugs, Blower noted.

The UCLA study raises concerns that microbicides could lead to drug resistance if they are used by HIV-positive women and that this risk may be masked under current clinical trial designs -- necessitating significant caution if the microbicides are licensed for use by the general public.

The researchers developed the mathematical models to determine if ARV-based microbicides that could cause moderate to high levels of drug resistance might pass clinical trials. They used epidemiological, clinical and behavioral data to construct models for both clinical trials and heterosexual transmission of HIV.

The models were based on the Phase 3 clinical trial for second-generation microbicides now under way in South Africa, Tanzania, Rwanda and Belgium. This trial is a 12-month, placebo-controlled study involving 10,000 participants.

The researchers developed simulations for two scenarios: one for high-risk microbicides, in which there is a high probability that the vagina will absorb dapivirine, the ARV drug in the microbicide; the other for low-risk microbicides, with a low probability of absorption. The team created the two scenarios because it is not currently known if ARV-based microbicides will be low- or high-risk.

The researchers found that men would likely benefit more than women if the microbicides' efficacy for women was less than 50 percent and if adherence was less than 60 percent. This would occur if HIV-positive women used microbicides and developed drug-resistant strains of HIV that are then less likely to be transmitted to men.

In the high-risk scenario, for instance, the microbicide could prevent infection in up to 21 percent of women and up to 27 percent of men. In the low-risk scenario, the microbicide would be of less benefit, preventing infection in up to 17 percent of women and 18 percent of men.

"The antiretroviral drugs within these microbicides are the same as those used to treat people who are infected with HIV, so there is great expectation that these microbicides will be very effective," said first author Dr. David Wilson, of the National Centre in HIV Epidemiology and Clinical Research at Australia's University of New South Wales.

"But the concern is that these microbicides are going to lead to drug resistance," he said.

The concern about drug resistance arises from the fact that women in the current clinical trial are being tested once a month for HIV infection and those found to be infected are dropped from the trial, according to researchers.

"Since monthly testing will take place in the dapivirine trial, we predict that few, if any, cases of acquired resistance will arise during the trial, even if the drug is readily absorbed (i.e., the microbicide is high risk)," the researchers write. "Therefore our analyses have shown that high-risk microbicides could pass Phase III trials, as their potential to cause resistance will be masked by frequent testing."

Other authors of the study are Paul Coplan, of the University of Pennsylvania School of Medicine, and Mark Wainberg, of McGill University's AIDS Centre at Montreal's Jewish General Hospital.

The International Partnership for Microbicides, the National Institute of Allergy and Infectious Diseases, and the Australian Research Council funded this study.


เจลทาช่องคลอดป้องกันเอดส์ ช่วยปัดเป่าชายมากกว่าหญิง

นักวิจัยออสเตรเลียพบข้อมูลใหม่ เจลทาช่องคลอดเพื่อป้องกันผู้หญิงติดเชื้อเอชไอวีจากการมีเพศสัมพันธ์กลับปกป้องเพศชายติดเชื้อได้ดีกว่า

ทุกวันนี้ ผู้หญิงยังไม่มีเครื่องมือป้องกันตัวเองจากการติดเชื้อเอชไอวี ต่างจากถุงยางสำหรับผู้ชาย เจลทาช่องคลอด หรือไมโครบิไซด์ จึงเป็นโอกาสสำหรับผู้หญิงปกป้องตัวเองให้ปลอดภัย

ไมโครบิไซด์เป็นสารประกอบที่สามารถใช้ทาภายในช่องคลอดเพื่อป้องกันติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัจจุบัน บริษัทยาหลายแห่งกำลังทดสอบไมโครบิไซด์รุ่นสอง โดยใช้สารเออาร์วีต้านเชื้อไวรัส

ล่าสุด ทีมวิจัยจากสถาบันเอดส์ มหาวิทยาลัยยูซีแอลเอ ศึกษาประสิทธิภาพของเจลทาช่องคลอดไมโครบิไซด์ โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์จำลองผลการทดสอบเจลทาป้องกันเอดส์ทางคลินิก และการติดเชื้อในระดับกลุ่มประชากร

ทีมวิจัยจำลอง 2 สถานการณ์ขึ้นมา สถานการณ์แรกไมโครบิไซด์ซึมผ่านช่องคลอดอย่างรวดเร็ว ทำให้เสี่ยงติดเชื้อสูง สถานการณ์ที่สอง ไมโครบิไซด์ซึมผ่านช่องคลอดช้า จึงป้องกันได้ดี หรือความเสี่ยงติดเชื้อต่ำ

ทีมวิจัยพบว่า ผู้ชายมีแนวโน้มได้ประโยชน์มากกว่าผู้หญิง ถ้าเจลไมโครบิไซด์มีประสิทธิภาพต่ำกว่า 50% และถ้าทาเจลติดช่องคลอดน้อยกว่า 60% กรณีดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อผู้หญิงที่มีเชื้อเอชไอวีใช้ไมโครบิไซด์ และพัฒนาเอชไอวีสายพันธุ์ดื้อยา แต่ทำให้ผู้ชายมีโอกาสติดเชื้อน้อยลง

ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงได้มากที่สุด ไมโครบิไซด์สามารถป้องกันสตรีได้รับเชื้อเอชไอวีได้มากถึง 21% และป้องกันผู้ชายได้ 27% แต่ในกรณีความเสี่ยงติดเชื้อต่ำ ไมโครบิไซด์กลับเป็นประโยชน์น้อยลง โดยป้องกันสตรีติดเชื้อ 17% และป้องกันผู้ชายติดเชื้อ 18%

งานวิจัยของยูซีแอลเอแสดงความวิตกว่า หากนำไมโครบิโอไซด์ไปใช้ในสตรีที่ติดเชื้อเอชไอวีอยู่แล้ว ผู้หญิงมีโอกาสดื้อยาสูง ดังนั้น หากเจลทาช่องคลอดไมโครบิไซด์ผ่านการรับรองจากองค์การอาหารและยา และใช้กันทั่วไป จึงจำเป็นต้องแสดงข้อความเตือนข้อจำกัดการใช้ให้ชัดเจน.

Why does organic milk last so much longer than regular milk?

เขียนโดย RedAngel ที่ 05:37

4.7.51



If you’ve ever shopped for milk, you’ve no doubt noticed what our questioner has: While regular milk expires within about a week or sooner, organic milk lasts much longer—as long as a month.

So what is it about organic milk that makes it stay fresh so long?

Actually, it turns out that it has nothing to do with the milk being organic. All "organic" means is that the farm the milk comes from does not use antibiotics to fight infections in cows or hormones to stimulate more milk production.

Organic milk lasts longer because producers use a different process to preserve it. According to the Northeast Organic Dairy Producers Alliance, the milk needs to stay fresh longer because organic products often have to travel farther to reach store shelves since it is not produced throughout the country.

The process that gives the milk a longer shelf life is called ultrahigh temperature (UHT) processing or treatment, in which milk is heated to 280 degrees Fahrenheit (138 degrees Celsius) for two to four seconds, killing any bacteria in it.

Compare that to pasteurization, the standard preservation process. There are two types of pasteurization: "low temperature, long time," in which milk is heated to 145 degrees F (63 degrees C) for at least 30 minutes*, or the more common "high temperature, short time," in which milk is heated to roughly 160 degrees F (71 degrees C) for at least 15 seconds.

The different temperatures hint at why UHT-treated milk lasts longer: Pasteurization doesn’t kill all bacteria in the milk, just enough so that you don't get a disease with your milk mustache. UHT, on the other hand, kills everything.

Retailers typically give pasteurized milk an expiration date of four to six days. Ahead of that, however, was up to six days of processing and shipping, so total shelf life after pasteurization is probably up to two weeks. Milk that undergoes UHT doesn’t need to be refrigerated and can sit on the shelf for up to six months.

Regular milk can undergo UHT, too. The process is used for the room-temperature Parmalat milk found outside the refrigerator case and for most milk sold in Europe.

So why isn’t all milk produced using UHT?

One reason is that UHT-treated milk tastes different. UHT sweetens the flavor of milk by burning some of its sugars (caramelization). A lot of Americans find this offensive—just as they are leery of buying nonrefrigerated milk. Europeans, however, don’t seem to mind.

UHT also destroys some of the milk’s vitamin content—not a significant amount—and affects some proteins, making it unusable for cheese.There are, of course, lots of reasons people buy organic milk. But if it's the long shelf life you're after, I would recommend you buy nonorganic UHT milk and avoid being charged double.

ทำไมนมออแกนิกจึงมีอายุยาวกว่านมปกติ

ตะวันตกนิยมดื่มนมออร์แกนิกมากขึ้น แต่ทำไมนมนี้ถึงมีอายุยาวนานกว่านมอื่นๆ ล่ะ ตั้งไว้ในตู้เย็นตั้งนานยังไม่เสียเลย?

จากข้อมูลของสมาคมผู้ผลิตนมออร์แกนิกนอร์ทอีสต์ของสหรัฐ เปิดเผยว่า นมออร์แกนิกไม่ได้ช่วยให้นมเสียช้า แต่เป็นขั้นตอนการผลิตต่างหากที่ช่วย

"นมออร์แกนิก" คือนมที่ผลิตจากฟาร์มที่ไม่ได้ใช้ยาปฏิชีวนะในการป้องกันโรคในวัว ทั้งยังไม่ใช้ฮอร์โมนเพิ่มผลผลิตนม เนื่องจากฟาร์มประเภทนี้ยังมีจำนวนน้อย ไม่ได้อยู่กระจัดกระจายทั่วประเทศ ดังนั้น นมจึงต้องใช้เวลาเดินทางนานเพื่อให้เข้าถึงผู้บริโภคอย่างทั่วถึงกระบวนการผลิตจึงต้องแตกต่างจากนมอื่นๆ โดยใช้วีธีผ่านความร้อนด้วยอุณหภูมิแบบอัลตราไฮ หรือ "ยูเอชที" ซึ่งนมจะผ่านความร้อนอุณหภูมิ 138 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2-4 วินาที ทำให้ฆ่าแบคทีเรียในนมจนหมด

ชาวอเมริกันนิยมดื่มนมพาสเจอไรซ์ ซึ่งนมพาสเจอไรซ์นี้ทำได้ 2 แบบ คือ "อุณหภูมิต่ำ เวลานาน" คือผ่านความร้อน 63 องศาเซลเซียส ใช้เวลาอย่างน้อย 30 วินาที และ "อุณหภูมิสูง เวลาสั้น" คือผ่านความร้อน 71 องศาเซลเซียส ใช้เวลาอย่างน้อย 15 วินาที โดยวิธีพาสเจอไรซ์ไม่ได้ฆ่าแบคทีเรียออกจากนมไปทั้งหมด เพียงแต่พอที่เราจะไม่ป่วยด้วยแบคทีเรีย ขณะที่ยูเอชทีนั้นฆ่าทุกอย่าง

สำหรับอายุของนมพาสเจอไรซ์นั้นเมื่อวางขายอยู่ตามซูเปอร์มาร์เก็ตจะอยู่ระหว่าง 4-6 วัน แต่เมื่อรวมขั้นตอนการผลิตและการขนส่งด้วยแล้ว นมพาสเจอไรซ์อยู่ได้ 2 อาทิตย์ ส่วนนมยูเอชทีวางขายได้นานถึง 6 เดือน

ส่วนสาเหตุที่นมไม่ผลิตแบบยูเอชทีไปทั้งหมด ทั้งๆ ที่ไม่ต้องมากังวลเรื่องนมบูด ก็เพราะรสชาติของนมพาสเจอไรซ์และนมยูเอชทีแตกต่างกัน โดยนมยูเอชทีจะหวานกว่าเพราะมีการเผาไหม้น้ำตาลมากกว่า หรือเรียกว่าคาราเมล ทั้งยังทำลายวิตามินไปด้วยแม้ว่าจะเป็นจำนวนไม่มาก ผู้คนทุกมุมโลกมีนิสัยการบริโภคแตกต่างกัน แม้ชาวอเมริกันจะไม่ชอบนมยูเอชที แต่ชาวยุโรปและเอเชียแล้ว นมยูเอชทีได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก

http://www.sciam.com/article.cfm?id=experts-organic-milk-lasts-longer