It's me

ภาพถ่ายของฉัน
RedAngel
Bangkok, Bangkok, Thailand
Low profile, High profit.
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน

Visitor

My Time

Brain size 'not key to intellect'

เขียนโดย RedAngel ที่ 21:34

23.6.51

Brain size 'not key to intellect'




Size may not be everything when it comes to brain evolution, say experts.

Instead, UK research reveals that the rising complexity of connections between brain cells may have been the biggest driving force.

The Nature Neuroscience study found clear differences between brain junctions in mammals, insects and single cell creatures.

Changes around half a billion years ago, they said, are likely to have been more important than brain size.

Prehistoric ancestors, such as homo erectus, had significantly smaller brains than modern man.

Evidence suggests that human brain size must have conferred an evolutionary advantage sufficient to make up for the obvious disadvantages - particularly the risks during childbirth, and the increased amount of energy needed to keep a larger brain running.

However, the research from Cambridge's Sanger Institute, and the universities of Keele and Edinburgh, says that this may not be the whole story, and that some of the key evolutionary "breakthroughs" may have relied on something more than an increase in the number of cells.

It looked closely at the synapse, the junction between nervous system cells, in three different types of creature, single-celled yeast, the fruit fly, and the mouse, all of which represent three distinct stages in the evolution of life on Earth.

Of particular interest were 600 proteins found in the synapses of mammals.

To their surprise, only about half of these were found in the synapses of the fruit flies, and, in the yeast cells, which don't have a brain, approximately 25% were present.

They suggest that the big advances in evolution, from single-celled to multi-celled, and at the change between invertebrates and vertebrates, may well have been sparked by a rapid change in the complexity of the synapse.

'Explosion'

Professor Seth Grant, one of those leading the study, said: "Our simple view that 'more nerves' is sufficient to explain more brain power is simply not supported by our study.

"The number and complexity of proteins in the synapse first exploded when multicellular animals emerged, some billion years ago.

"A second wave occurred with the appearance of vertebrates, perhaps 500 million years ago."

He said the finding offered clues not only to these massive changes, but to the ongoing evolution of humans.

"We are one step closer to understanding the logic behind the complexity of human brains," he said.

Dr Richard Emes, a lecturer in bioinformatics at Keele University, and another of the researchers, said: "It is amazing how a process of Darwinian evolution by tinkering and improvement has generated, from a collection of sensory proteins in yeast, the complex synapse of mammals associated with learning and cognition."

Dr Hugo Spiers, a neuroscientist from University College London, said that while the size of the brain could not explain all the differences in the abilities of the organ, it still had a major role to play.

He said: "We know that size isn't everything - for example, whales and elephants have much larger brains than we do.

"This new research is right in saying that there is a lot more we can learn about how synapses work to improve our understanding of the brain's complexities.

"However, it's also true that, if you are dealing with intelligence, there are certain parts of the brain which are disproportionately bigger in humans, and which do appear to make a difference."

นักวิจัยเมืองผู้ดีชี้สมอง"เล็ก-ใหญ่"ไม่ใช่เกณฑ์วัดฉลาด

ขนาดไม่ใช่เรื่องสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมอง งานวิจัยจากเมืองผู้ดีพบว่า แท้จริงแล้วความซับซ้อนของสารสื่อประสาทต่างหากที่เป็นปัจจัยให้มนุษย์ฉลาดล้ำ

ทีมวิจัยระบบประสาทวิทยาพบความแตกต่างระหว่างรอยต่อของสมองในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แมลง และสัตว์เซลล์เดียว และพบว่า 5 แสนปีที่ผ่านมา สมองวิวัฒนาการจนขนาดไม่ใช่เรื่องสำคัญ

จากข้อมูลระบุว่า มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เช่น โฮโม อีเร็กตัส มีสมองเล็กกว่ามนุษย์ยุคใหม่มาก ทำให้เชื่อกันว่าสมองวิวัฒนาการเพื่อแก้ไขจุดอ่อนต่างๆ เช่น ความเสี่ยงแท้งระหว่างคลอด เมื่อสมองขนาดใหญ่ขึ้น มีพลังงานมากขึ้น เพิ่มโอกาสรอดให้ทารก

อย่างไรก็ตาม ทีมวิจัยจากสถาบันแซงเกอร์ของเคมบริดจ์ร่วมกับมหาวิทยาลัยคีเลและเอดินเบอระ กล่าวว่า ข้อมูลข้างต้นเป็นจริงเพียงบางส่วน แต่หัวใจสำคัญคือ จำนวนเซลล์ประสาทที่เพิ่มขึ้น

ทีมวิจัยศึกษาเปรียบเทียบสารสื่อประสาท หรือซินแนป ซึ่งเป็นตัวเชื่อมระหว่างเซลล์ประสาทของสิ่งมีชีวิต 3 ชนิด ได้แก่ ยีสต์เซลล์เดียว แมลงหวี่ และหนู พบว่าจำนวนโปรตีนในซินแนปของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีอยู่ราว 600 โปรตีน เทียบกับแมลงหวี่ มีโปรตีนเพียงครึ่งของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และในยีสต์เซลล์เดียว ซึ่งไม่มีสมอง มีโปรตีนเพียง 1 ใน 4 เท่านั้น

ข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นความก้าวหน้าของวิวัฒนาการจากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมาถึงหลายเซลล์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและมีกระดูกสันหลัง ซึ่งสารสื่อประสาทมีความซับซ้อนขึ้น และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

ศ.เซธ แกรนต์ หัวหน้าทีมวิจัย กล่าวว่า การค้นพบในครั้งนี้ไม่ได้อธิบายเพียงแค่วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แต่ยังเกี่ยวพันกับวิวัฒนาการของมนุษย์ที่กำลังดำเนินอยู่ ให้เข้าใจตรรกเบื้องหลังความซับซ้อนของสมองมนุษย์อีกก้าว

ดร.ฮิวโก้ สปายเออร์ นักประสาทวิทยาจากมหาวิทยาลัยคอลเลจ ลอนดอน กล่าวว่า แม้ขนาดของสมองไม่สามารถอธิบายความแตกต่างของการทำงานของอวัยวะต่างๆ ได้ แต่ก็มีหน้าที่หลัก

“งานวิจัยนี้ชี้ชัดให้เห็นว่า การศึกษาสารสื่อประสาทในสมองทำให้เราเข้าใจสมองที่ซับซ้อนได้ดีขึ้น แต่หากพูดถึงความฉลาดจะพบว่า มนุษย์มีสมองบางส่วนที่ใหญ่กว่า และเป็นตัวแปรชี้ความแตกต่างระหว่างมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ จริง“ ดร.ฮิวโก้กล่าว

Science of Mentos-Diet Coke Explosions Explained

เขียนโดย RedAngel ที่ 22:45

17.6.51

Science of Mentos-Diet Coke Explosions Explained
By HAZEL MUIRJune 15, 2008



The startling reaction between Diet Coke and Mentos sweets, made famous in thousands of YouTube videos, finally has a scientific explanation. A study in the US has identified the prime factors that drive the fizzy plumes from Coke bottles: the roughness of the sweet and how fast it plummets to the bottle's base.



A new world record was set as 1,360 Mentos-and-Coke fountains were created by students in Leuven, Belgium. About 1,500 students simultaneously put Mentos mints in bottles of Coca-Cola Light, making a record number of the improvised bubblers, on April 23, 2008, on Ladeuzeplein Square. (SVEN DILLEN/AFP/Getty Images)
"If you drop a pack of Mentos into a bottle of Diet Coke, you get this huge fountain of spray and Diet Coke foam coming out," says Tonya Coffey, a physicist at Appalachian State University in Boone, North Carolina. "This was a good project for my students to study because there was still some mystery to it."
When mint or fruit Mentos are dropped into a fresh bottle of Diet Coke, a jet of Coke whooshes out of the bottle's mouth and can reach a height of 10 metres. Theories abound as to why this happens, with some bloggers speculating that it is an acid-base reaction because Coke is acidic.



โลกวิทยาศาสตร์ - เมนทอสใส่โค้ก ไดเอ็ท


ลองเอาลูกอมเมนทอส รสมินท์ หรือรถผลไม้ก็ได้ใส่ลงไปในขวดไดเอ็ท โค้ก คุณจะพบว่าเพียงไม่กี่วินาทีน้ำในขวดโค้กจะทำปฏิกิริยาเกิดเป็นฟองฟอดทะลักขึ้นปากขวดราวกับน้ำพุ สูงหลายสิบเมตรได้อย่างน่าประหลาดใจ นักวิทยาศาสตร์ช่วยกันไขปริศนาจนพบคำตอบแล้วว่าทำไมน้ำถึงพุ่งปรี๊ดออกมาได้ ปรากฏการณ์น้ำพุไดเอ็ท โค้ก จากพลังเมนทอสได้รับความสนใจจากคนทั่วโลก ถึงขนาดทำเป็นวิดีโอคลิปโหลดขึ้นเว็บไซต์ยูทูบ (http://www.youtube.com/) นับพันไฟล์ แต่ยังไม่มีใครรู้แน่ชัดว่า ปฏิกิริยาทางเคมีชนิดไหนที่อยู่เบื้องหลังการทดลองวิทยาศาสตร์ที่เปรอะเปื้อนดังกล่าว


ทองก้า คอฟฟรีย์ นักฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยแอบพาลาเชียน สเตท จากสหรัฐ บอกว่า เขาเสนอให้นักศึกษาหาคำตอบว่า ทำไมเอาเมนทอสใส่ไดเอ็ท โค้ก แล้วน้ำจากขวดโค้กถึงพุ่งเป็นน้ำพุไปได้ และบางครั้งสูงถึง 10 เมตร

ที่ผ่านมา เคยมีคนตั้งทฤษฎีอธิบายเหตุการณ์มากมาย และนักเขียนเว็บบล็อกบางคนคาดว่าเป็นผลมาจากปฏิกิริยากรด-เบส เนื่องจากโค้กมีสภาพเป็นกรด เมื่อปี 2549 รายการมิธบัสเตอร์ของสถานีดิสคัฟเวอรี่ แชนแนล อธิบายว่า กระบวนการทางเคมีที่อยู่เบื้องหลังปฏิกิริยาน้ำพุไดเอ็ท โค้ก คือ กัม อะราบิก (สารใช้เติมในอาหารให้มีสภาพคงตัว) และเจลาตินในเมนทอส ทำปฏิกิริยากับกาเฟอีน โพแทสเซียม เบนโซเอต และแอสพาร์ทาม (น้ำตาลเทียม) ในโค้ก แต่ยังไม่มีใครศึกษาเรื่องนี้เชิงวิทยาศาสตร์กันอย่างจริงจัง



เพื่อให้ได้ข้อมูลชัดเจนขึ้น คอฟฟีย์ และทีมนักศึกษาทอสอบปฏิกิริยาเปรียบเทียบระหว่างไดเอ็ท โค้ก กับเมนทอสรสผลไม้ รสมินท์ และสารปรุงแต่งอื่น เช่น มินท์ น้ำยาล้างจาน เกลือป่น และทราย ทีมวิจัยยังได้ทดสอบเปรียบเทียบกับน้ำอัดลมอื่น เช่น น้ำอัดลมไร้กาเฟอีน และไร้น้ำตาล รวมถึงพวกน้ำโซดา และน้ำโทนิกที่ใช้ผสมเครื่องดื่ม


ทีมวิจัยทดลองโดยตั้งขวดทำมุมเอียง 10 องศา และบันทึกภาพน้ำพุขณะพุ่งออกจากขวด บันทึกปริมาณน้ำที่ทะลักออก และอิทธิพลของผิวลูกอมเมนทอสต่อการทำปฏิกิริยา ผลทดลองพบว่า ไม่ว่าจะเป็นเมนทอสรสผลไม้หรือรสมินท์ ก็ทำให้เกิดปฏิกิริยาน้ำพุไดเอ็ท โค้ก ได้เหมือนกัน และสามารถพุ่งขึ้นสูงสุด 7 เมตร เมื่อทดลองใช้กับไดเอ็ท โค้ก สูตรปลอดกาเฟอีนก็ได้ผลเหมือนกัน แสดงว่า กาเฟอีนไม่ได้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา โดยเฉพาะปริมาณกาเฟอีนที่ใช้ผสมในเครื่องดื่มไดเอ็ท โค้ก ที่ไม่มากนัก


เมื่อวัดค่าความเป็นกรด-ด่างของโค้กก่อนทดลองและหลังทดลองพบว่า ค่าความเป็นกรด-ด่างคงที่ หมายความว่า ทฤษฎีที่บอกว่าเป็นปฏิกิริยาจากกรด-เบส คงนำมาใช้อธิบายไม่ได้ ทว่า ทีมวิจัยพบว่า น้ำพุไดเอ็ท โค้ก พุ่งสูงต่ำแค่ไหนขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างรวมกันที่มีอิทธิพลต่อการเพิ่มปริมาณฟองคาร์บอนไดออกไซด์ นอกจากนี้ ผิวเคลือบเมนทอสที่หยาบยังช่วยให้เกิดฟองมากขึ้นเนื่องจากไปก่อกวนการจับขั้วระหว่างโมเลกุลของน้ำที่ทำให้ฟองเพิ่มปริมาณมากขึ้น


"โดยทั่วไป โมเลกุลน้ำจะจับกับโมเลกุลน้ำที่อยู่ถัดไป และถ้าคุณเอาบางอย่างใส่ลงไปในน้ำอัดลมเป็นผลทำให้เครือข่ายโมเลกุลน้ำปั่นป่วน และทำให้เกิดฟองได้เป็นเรื่องปกติ แต่ถ้าใส่ลูกอมผิวหยาบที่มีสัดส่วนพื้นผิวสูงเมื่อเทียบกับปริมาตร ยิ่งทำให้เกิดฟองมากขึ้น" นักวิจัย กล่าว นอกจากนี้ แรงตึงผิวที่น้อยลงยังช่วยให้ฟองเกิดเร็วขึ้น เมื่อนำผลทดลองมาดูพบว่า น้ำที่มีสารแอสพาร์ทาม (สารให้ความหวานหรือน้ำตาลเทียม) ซึ่งออกรสหวานจัดมีแรงตึงผิวน้อยกว่าน้ำหวานทั่วไป จึงอธิบายได้ว่า ทำไมไดเอ็ท โค้ก ถึงเกิดฟองพรวดพราดเร็วว่าโค้กธรรมดา


อีกปัจจัยหนึ่งคือ กัม อะราบิกที่เคลือบเมนทอส เป็นสารลดแรงตึงผิวที่ยิ่งทำให้แรงตึงผิวของไดเอ็ท โค้กลดลงยิ่งขึ้น เห็นได้ชัดว่า เมื่อทดลองใช้ลูกอมมินท์ที่ไม่มีสารลดแรงตึงผิวไม่ทำให้เกิดน้ำพุขนาดใหญ่ นอกจากนี้ เมนทอสมีมวลที่หนาแน่น และจมอย่างรวดเร็ว จึงยิ่งเร่งปริมาณฟองมากยิ่งขึ้นก่อนทะลักขึ้นปากขวด ต่างจากเมนทอสบดละเอียดเมื่อใส่ลงไปในไดเอ็ท โค้ก ทำให้เกิดฟองพุ่งขึ้นแค่ 30 เซนติเมตรเท่านั้น

Mars lander shakes soil successfull

เขียนโดย RedAngel ที่ 02:10

15.6.51

Mars lander shakes soil successfull







Scientists hope technique solves Phoenix’s sampling problem

LOS ANGELES - Scientists said Tuesday that they were happy with a technique aimed at sprinkling just a spoonful of Martian soil into NASA's Phoenix Mars Lander.

They reported that the scoop on the end of the lander's robotic arm successfully shook a small sample onto the lander's surface on Monday — avoiding a problem with clumpiness that has held up the first scientific samplings for days.

Over the next few days, Phoenix team members plan to instruct the spacecraft to sprinkle soil onto a wheel that will rotate the sample into place for viewing by an optical microscope. Soil also will be sprinkled into one of the eight ovens on the lander's Thermal and Evolved-Gas Analyzer, or TEGA.
The single-use ovens are designed to bake Martian samples and "sniff" the gases given off. The sniffer is capable of detecting traces of organic chemicals — one of the primary goals of Phoenix Mars Lander's $420 million mission.

The robotic arm's scoop dumped a whole load of soil onto one of the ovens on Friday. However, only a few particles of the soil passed through the mesh screen covering the opening to the oven, even after the screen was shaken. Scientists concluded that the soil was bunching up on the mesh, like a load of lumpy flour sitting on a screen.

"This soil is very cohesive and it's very hard for it to get through the screen," mission scientist William Boynton of the University of Arizona in Tucson, who is in charge of the oven experiment, told reporters on Monday.

On Monday, the mission team tried a different method that was worked out months ago by the members in charge of the lander's robotic arm and microscope. A motorized rasp at the back of the scoop was turned on, and jiggled the scoop enough to shake about a tablespoon of the soil off the scoop's edge. The rasp will be used later in the mission to scrape up ice samples around the landing site in Mars' north polar region.

Imagery sent back by the lander showed fine particles falling onto the top surface of an instrument suite that includes the microscope.

"This is good news," Ray Arvidson of Washington University in St. Louis, lead scientist for the robotic arm, said Tuesday in a NASA status report.

Future soil samples may be prepared prior to delivery by chopping and scraping them with blades on the scoop.

Phoenix's agenda for Tuesday included continuing a set of atmospheric observations in coordination with overhead passes of NASA's Mars Reconnaissance Orbiter. These observations take advantage of opportunities for instruments on Phoenix and on the orbiter to examine the same column of atmosphere simultaneously from above and below.

"It allows us to put the Phoenix measurements into global perspective and gives a ground level calibration for the orbiter's measurements," said Phoenix project scientist Leslie Tamppari of NASA's Jet Propulsion Laboratory.

http://www.msnbc.msn.com/id/25084440

ยาน Phoenix ของนาซ่า ลงจอดที่ดาวอังคารสำเร็จเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม การนำยานไปสำรวจดาวอังคารเพื่อทำการทำลองว่าสิ่งมีชีวิตสามารถอยู่บนดาวอังคารได้หรือไม่ โดยทำการตักผิวที่มีอยู่บนดาวอังคาร โดยใช้แขนกลจากยาน Phoenix และเก็บตัวอย่างก๊าซที่มีอยู่มาด้วย พวกเขาจะสำรวจทุกอย่างว่าสิ่งมีชีวิตสามารถใช้ชีวิตอยู่ในดาวอังคารได้หรือไม่

Florida's hurricane simulator

เขียนโดย RedAngel ที่ 21:30

13.6.51

Florida's hurricane simulator

By Andy Gallacher BBC News, Miami






The Atlantic hurricane season is here, and for the third year in a row US government officials are predicting a busy and potentially deadly few months. Of the 12 to 16 named storms that are forecast, between two and five could turn into major hurricanes - the kind that devastated New Orleans and have battered Florida in the past, causing billions of dollars' worth of damage.
There is little the authorities can do when a hurricane strikes.


But now a team of scientists and graduate students at the University of Florida is working on a unique project to help protect the homes and lives of millions of people.


The team has developed the world's most powerful portable hurricane simulator, a giant machine capable of reproducing winds in excess of 120mph (193kph) and recreating rain.


"We've harnessed 2,800 horse power, a locomotive's worth of power, to recreate a wind field large enough to envelop part of a single family home," says Forrest Masters, the man in charge of the project.


He and his team have strapped together eight industrial sized fans and rigged them up to four marine diesel engines so powerful that they are hooked up to a 5,000-gallon (19,000 litre) water tank just to keep the engines cooled.


"The simulator you see here is our first effort to bring the hurricane back to the laboratory, to evaluate building systems, urban landscaping and really anything that can find its way into the path of a hurricane," says Mr Masters.

The team does not just unleash the machine on the mock homes that are constantly being built and knocked down. The simulator's wind speed and even the size and volume of raindrops are closely monitored and controlled by computer.


"We've had many years of going into the field after a hurricane has passed through, and you definitely get your reality check after you go through and you see the thousands of people that have been displaced from their homes," says lab manager Jimmy Jeasteadt.


"That's what we're in this for, to make the homes last for people's safety."
The simulator was designed and built entirely by the University of Florida team and, while it is not the only simulator of its kind in existence, it can do things no other machine can. Having the ability to recreate extreme rain and wind speeds enables the scientists to see exactly what hurricanes do to people's homes.


Piece by piece the team at the university is designing water-resistant windows, wind-proof tiles and altogether stronger structures. Mr Masters says that for many of the students working on the project, there is also something of a personal element to their work.


"The students that staff this project grew up in hurricane-prone areas, it's part of their culture, and now they are actually getting a chance to come back, in a laboratory setting, and do something about it."

เครื่องจำลองเฮริเคนตอนนี้เป็นช่วงฤดูของเฮริเคนที่ฟลอริด้า มีการพยากรณ์ว่าจะเกิดพายุ 12 – 16 ครั้ง และระหว่างครั้งที่ 2 – 5 พายุสามารถที่จะกลายเป็นเฮริเคนได้ เฮริเคนถล่ม นิวโอลีน และบางส่วนของ ฟลอริด้าทำให้เกิดความเสียหายเป็นพันล้านเหรียญสหรัฐผู้จัดทำสามารถสร้างเครื่องจำลองเฮริเคน โดยทำการกำเนดลมจากเครื่องยนต์ขนาดใหญ่มีปริมาณลมได้มากถึง 120mph (193kph) และทำให้เกิดฝนด้วยพวกเขาให้เครื่องยนต์ 2,800 แรงม้าเป็นเครื่องจักรที่มีพลังความสามารถทำให้มีลมในปริมาณมากเพียงพอในการล้อมรอบบ้านหนึ่งหลัง นายฟอเรส มาสเตอร์ กล่าว หนึ่งในผู้ทำโครงการพวกเขาได้นำพัดลม

อุตสาหกรรมตัวใหญ่ผูกติดกัน 8 ตัว และขึงไว้กับ เครื่องเดินเรือทะเล 4 เครื่อง ทำให้มีกำลังเหวี่ยงน้ำได้ถึง 5,000 แกลลอน และมีถังน้ำไว้ให้เครื่องเย็นทีมงานไม่ได้ปล่อยเครื่องจักรทำงานแค่ครั้งเดียวแต่มีการดูแลควบคุมอย่างใกล้ชิดด้วยคอมพิวเตอร์ การทดลองครั้งนี้ทำการทดลองกับบ้านที่มีความมั่นคงและมีการสร้างแบบ น๊อคดาวน์จิม จีสทิด กล่าวว่า พวกเขาใช้เวลาหลายปีจากการดูบ้านที่พังลงจากเฮริเคน ซึ่งมีผู้คนนับพันที่จะต้องสูญเสียบ้านไปหลังจากเกิดเฮริเคน และนั่นก็เป็นแรงผลักดันทำให้เกิดแนวความคิดที่จะทำเครื่องจำลองเฮริเคนเพื่อทดสอบว่าบ้านมีความคงทนมั่นคงปลอดภัยดีหรือไม่เครื่องจำลองเฮริเคนนี้สร้างโดยทีมงานจากมหาวิทยาลัยฟลอริด้า ไม่เพียงแต่สร้างเครื่องจำลองเฮริเคนเท่านั้น แต่มันรวมถึงการทำฝนที่ตกหนัก ความเร็วลม ทำให้นักวิทยาศาสตร์ มองเห็นภาพจริงของเฮริเคนที่มีผลต่อบ้านคนได้ และยังต้องมีทีมงานในการสร้างหน้าต่างกันน้ำ, หลังคากันลม, และส่วนประกอบต่างๆ ของบ้านจะต้องแข็งแรงทนทานในายมาสเตอร์ กล่าวว่า มีนักศึกษาจากหลายสาขาที่เข้ามาร่วมกันทำโครงการนี้ และนักศึกษาเหล่านี้ล้วนโตมาท่ามกลางพายุเฮริเคน จึงทำให้มีความรู้สึกว่าพายุเฮริเคนเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตไปเสียแล้ว และนี่ก็เป็นโอกาสที่ทำให้สามารถนำมาปฏิบัติการกับเฮริเคนได้

แหล่งที่มา .http://news.bbc.co.uk/2/hi/americas/7431142.stm


EDTECH 15

เขียนโดย RedAngel ที่ 08:42

8.6.51

หวัดดีชาวโลก !


ประเดิมบทความแรกในบล๊อกของเราเอง ไม่นึกไม่ฝันว่าต้องมานั่งเขียนบล๊อกเพราะว่าไม่ชอบการเขียนสักเท่าไร ชอบที่จะพูดมากกว่า เขียนมันช้าไม่ทันใจ คิดได้กว่าจะเขียนเสร็จเป็นอันลืม แต่ไม่เป็นไรคนเรามันต้องฝึกฝนกันซะหน่อย ไม่แน่นะในอนาคตอาจมีนักเขียนหน้าใหม่อายุเยอะ (คิดว่าต้องฝึกอีกนานกว่าจะเขียนหนังสือได้) ชื่อ ณศิริ ก็เป็นได้เพราะฉะนั้นถ้าใครอยากได้ลายเซ็นนักเขียนผู้โด่งดังขอได้ตั้งแต่ตอนนี้นะคะ


ทำไมต้องเขียนบล๊อก? ก็บล๊อกนี้น่ะเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนกับ ดร.สุพิทย์ กาญจนพันธุ์ เมื่อวาน (๗ มิถุนายน ๒๕๕๑) นี้เป็นการเรียนกับท่านเป็นครั้งแรก และได้พบกับเพื่อนๆ ร่วมชะตากรรมด้วยกัน อีก 6 ท่าน สำหรับ ดร.สุพิทย์ กาญจนพันธุ์ ขออนุญาตเขียนถึงท่านหลังจากเรียนจบคอร์สซะก่อนดีกว่า เดี๋ยวจะมีการครหาว่าหาความชอบเพื่อผลการเรียน ซึ่งคอร์สนี้นับว่าเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่พวกเราทั้ง 7 คน ได้เรียนกับท่านเป็นรุ่นสุดท้าย เนื่องจากในเดือนตุลาคมนี้ท่านก็จะเกษียณราชการ ดังนั้นขอแนะนำเพื่อนๆ ในห้องดีกว่า




เริ่มจากซ้ายมือ....
1.นายฉัตรพันธ์ นิลกำแหง (ตั้ง)
2.นางสาวดารณี โต๊ะสวัสดิสุข (พี่หมวย)
3.นายภูริลาภ เรืองมณี (โญ)



4.นางสาวอารยา เลาหะพันธ์ (จอย) ---> เสื้อขาว
5.นางสาวปวริศา ธีระนังสุ (กอล์ฟ) ---> เสื้อชมพู
6.นางสาวชนกพร บุญศาสตร์ (หลิง) ---> สาวที่ยืนข้างหลัง


และนั่นก็คือโฉมหน้าของเหล่าผู้กล้า EDTECH รุ่น ๑๕ อ้อ...ลืมไปไม่มีรูปโฉมหน้าของเจ้าของ บล๊อกกับท่านอาจารย์ผู้สอน ไว้คราวหน้าล่ะกัน ตอนนี้ต้องขอตัวไปนอนเพื่อแปลงร่างเป็นสาวโรงงานในวันจันทร์ - ศุกร์ แล้วก็จะกลายร่างเป็นนักศึกษาในวันเสาร์ - อาทิตย์ ต่อจากนี้ไปอีก ๒ ปี ก็จะได้พบกับมหาบัณฑิตทั้ง ๗ สู้ๆๆ